เส้นเลือดฝอยที่ขา Things To Know Before You Buy
เส้นเลือดฝอยที่ขา Things To Know Before You Buy
Blog Article
ติดตามข่าวสารล่าสุด และ นัดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญระดับโลกได้ทันที
เส้นเลือดขอด คืออะไร อาการ วิธีรักษา และป้องกัน
เข็มที่หมอใช้ในการฉีดสลายจะเป็นเข็มเบอร์เล็กมาก 30G ซึ่งเป็นขนาดที่เล็กที่สุด เทียบกับเข็มเจาะเลือดจะเห็นได้ว่าเล็กกว่าหลายเท่าตัวมากๆ
อาการปวดขาทำให้เกิดการระคายเคืองในเวลากลางคืน และรบกวนการนอนหลับ
ในรายที่ปฏิบัติตามคำแนะนำดังกล่าวแล้วยังไม่ได้ผล ผู้ป่วยควรพบแพทย์ที่โรงพยาบาล ซึ่งแพทย์อาจต้องตรวจโดยการฉีดสีเข้าเส้นเลือดที่ขอดแล้วเอกซเรย์ดูลักษณะของเส้นเลือดหรือตรวจพิเศษอื่น ๆ และอาจต้องรักษาโดยการฉีดยาเข้าไปในเส้นเลือดดำที่ขอดทำให้เกิดการแข็งตัวและตีบตันเพื่อตัดการไหลเวียนของเลือด หรือถ้าพบว่าเป็นมากอาจต้องรักษาโดยการผ่าตัดดึงเส้นเลือดดำที่ขอดออกไป
ข้อมูลเกี่ยวกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
เส้นเลือดขอดเส้นเลือดขอดที่ขาเส้นเลือดสุขภาพกายรู้ทันโรคดูแลสุขภาพสุขภาพความเสี่ยงอันตรายโรค
เส้นเลือดขอดที่เป็นติดต่อกันนาน ๆจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสีผิวบริเวณข้อเท้าเป็นสีน้ำตาลแดง เกิดการอักเสบของผิว ผิวหนังแตกเป็นแผล และมีอาการปวดขาเป็นระยะ ๆ ได้
สาเหตุของการเกิดเส้นเลือดฝอยและเส้นเลือดขอดมีหลายปัจจัย เช่น กรรมพันธุ์ ลักษณะการใช้ชีวิตประจำวัน การเพิ่มความดันในช่องท้อง กรรมพันธุ์เป็นปัจจัยหลักอันหนึ่งที่พบบ่อย ท่านที่มีเส้นเลือดฝอยและเส้นเลือดขอดมักมีประวัติคนในครอบครัวที่เป็นแบบเดียวกัน การใช้ชีวิตประจำวันหรือการทำงานที่ต้องนั่งหรือยืนเฉย ๆ เป็นเวลานาน ๆ ติดต่อกันทุกวันจะทำให้เลือดไหลย้อนกลับไปหัวใจลำบาก เพราะไม่มีการบีบรัดตัวของกล้ามเนื้อน่องเพื่อช่วยส่งเลือดกลับไปที่หัวใจ เลือดที่คั่งอยู่จึงไปดันให้เส้นเลือดดำที่ขาโป่งออก การเพิ่มความดันในช่องท้องเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น การเบ่งถ่ายบ่อย ๆในท่านที่ท้องผูกเป็นประจำ หญิงตั้งครรภ์ที่มดลูกค่อย ๆใหญ่ขึ้นและไปกดทับเส้นเลือดดำใหญ่ที่ท้อง
หากเส้นเลือดขอดที่ขารบกวนการใช้ชีวิตประจำวัน มีอาการปวดบวม กดเจ็บหรือผิวหนังเริ่มหนา เปลี่ยนเป็นสีคล้ำ ควรรีบพบแพทย์เพื่อทำการวินิจฉัยและรักษาอย่างถูกวิธี
การฉีดสลาย เส้นเลือดฝอยที่ขา เจ็บมั้ย
วิดีโอเกี่ยวกับการรักษาเส้นเลือดฝอยและเส้นเลือดขอด โดยคุณหมอปี
เพิ่มอาหารที่มีฟลาโวนอยด์ สารฟลาโวนอยด์ช่วยเพิ่มการไหลเวียนโลหิต ทำให้เลือดไหลเวียนได้ดี และทำให้โอกาสการเกิดเลือดสะสมในหลอดเลือดลดน้อยลง นอกจากนี้ ยังช่วยลดความดันโลหิตในหลอดเลือด เส้นเลือดฝอยที่ขา อาหารที่มีฟลาโวนอยด์สูง ได้แก่ ผักต่างๆ รวมทั้งหัวหอม พริกหยวก ผักโขม และบร็อคโคลี่ ผลไม้รสเปรี้ยวและองุ่น เชอร์รี่ แอปเปิ้ล และบลูเบอร์รี่ รวมไปถึงโกโก้ กระเทียม
ภาวะแทรกซ้อนอันตรายที่อาจพบได้ มีดังนี้